กฎหมาย
เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม
ในทุกที่ที่เป็นไปได้[1] กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง
และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม
กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและ อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2558
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
โครงสร้างและความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญทุกฉบับตลอดเวลา
ดังจะเห็นได้จากเมื่อมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญไปแล้ว
ก็จะมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับ ในเวลาต่อมาทันที
ยังผลให้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรมากถึง 18 ฉบับ
ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น อ่านเพิ่มเติม
ระบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะการเมืองการปกครอง
คือ ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน
โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย
เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดยตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน
เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย การยื่นถอดถอนนักการเมืองที่ประพฤติมิชอบ อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชน
แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิของมนุษย์ทุกคนบนโลกที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิดและเป็นสากล
ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ชนชาติ ประเทศ เพศ ผิวพรรณ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม สติ
ปัญญา ความสามารถ ฐานะทางเศรษฐกิจที่จะดำเนินชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี มีอิสระ เสรีภาพ
เสมอภาค มีชีวิตที่ดี มีสิทธิแสวงหาวัตถุปัจจัยมา อ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
คุณลักษณะของพลเมืองดี
1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม
เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น
หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน ปราบปราม อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมในภูมิภาคต่างๆ
จากที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่าประเทศไทยมีขนาดใหญ่
มีสภาพภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันไปตามภูมิภาค
จังหวัด และ อำเภอ
คนในแต่ละพื้นที่ได้สร้างวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ละได้ประพฤติปฏิบัติสืบกันมานับเป็นระยะเวลานาน
จนกลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นหรือวัฒนธรรมพื้นบ้านขึ้นมา อ่านเพิ่มเติม
สังคมมนุษย์
การขัดเกลาทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคมหมายถึง กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่าและนำเอากฎเกณฑ์ ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ตนเป็นสมาชิดอยู่ได้เป็นอย่างดี อ่านเพิ่มเติม
การขัดเกลาทางสังคมหมายถึง กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่าและนำเอากฎเกณฑ์ ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ตนเป็นสมาชิดอยู่ได้เป็นอย่างดี อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)